HomeGroupsTalkMoreZeitgeist
Search Site
This site uses cookies to deliver our services, improve performance, for analytics, and (if not signed in) for advertising. By using LibraryThing you acknowledge that you have read and understand our Terms of Service and Privacy Policy. Your use of the site and services is subject to these policies and terms.

Results from Google Books

Click on a thumbnail to go to Google Books.

Loading...

Borderlands / La Frontera: The New Mestiza (1987)

by Gloria Anzaldúa

MembersReviewsPopularityAverage ratingMentions
1,692810,201 (4.1)8
"Rooted in Gloria Anzaldúa's experience as a Chicana, a lesbian, an activist, and a writer, the groundbreaking essays and poems in this volume profoundly challenged how we think about identity. Borderlands/La Frontera remapped our understanding of what a "border" is, seeing it not as a simple divide between here and there, us and them, but as a psychic, social, and cultural terrain that we inhabit, and that inhabits all of us."… (more)
Loading...

Sign up for LibraryThing to find out whether you'll like this book.

No current Talk conversations about this book.

» See also 8 mentions

Showing 1-5 of 7 (next | show all)
I'm going to lose my Chicano, feminist status, but this book wasn't all that great. ( )
  ennuiprayer | Jan 14, 2022 |
Borderlands/La Frontera is probably Gloria Anzaldúa's most well known book. It is definitely a foundational text for Chicana Feminism, and has important contributions for Postcolonial Feminism and Indigenous Feminism. This intersectional work weaves Anzaldúa's life and thoughts in a prose style philosophy that actively defies binary categorization. The book can be challenging if the reader can't understand Spanish, but for those with who can read Spanish and English, it is an enthralling volume. ( )
  AmericanAlexandria | Mar 30, 2021 |
This is a reread in the first place (from a very long time ago,) though of course I’ve read it in excerpt repeatedly in grad school. I’ve read indigenous critiques of Anzaldúa before, and tend to agree with them, that she relies really heavily on her claims to indigenous identity without doing much work about it (a problem that is not solely hers, of course, but a larger issue; see Maria Josefina Saldaña-Portillo’s book Indian Given for more on that.) Nonetheless, it’s obvious why this is and continues to be such a powerful, important work, though I do think working with it in excerpt is probably done so frequently for a reason, because there’s a lot to contend with. Obviously there is the concept of the borderlands to grapple with, as well as la facultad, though it’s interesting how those come together here. I think I struggled quite a bit with la facultad, and I suspect it’ll be something I’ll be chewing on for a long time. This is a book that at least for me is one to return to again and again, and continue to work through. ( )
  aijmiller | Jul 17, 2019 |
I read the second edition of this book for a Latina/o Studies class in college, and found it such a powerful experience that I began pushing it on all my friends. One of them finally took me up on my offer to borrow it, and predictably, it is now lost somewhere in Mumbai!

A collection of essays and poems, written in both English and Spanish, Borderlands/La Frontera was a ground-breaking book that helped pave the way for the concept of "border studies." Brilliant, and at time bitter, it explores the border as a psychological construct, in which different strands of identity meet, and frequently clash. The physical border, in Anzaldua's case, is the U.S./Mexico border in Texas. But equally important, and equally real for the author, are the cultural, gender, and sexual boundaries that intersect her life. As a Tejana, Chicana, American, woman, feminist, and lesbian, Anzaldua has quite a few conflicting identities to try and reconcile, and her documentation of their not-so-peaceful co-existence makes for moving and, at times, uncomfortable reading.

As a straight, Anglo (a term that I don't necessarily accept, but will use here for simplicity) woman, I was amazed at how directly some of Anzaldua's narrative spoke to my own life experiences. I can recall moments of almost breathless wonder, as I read passages that finally gave voice to inchoate thoughts and feelings, vaguely-sensed but never expressed. This, I feel, is the author's true strength: her narrative voice, in the expression of her own experiences. As a theorist and educator, I am not so sure. I've heard some stories about her classroom that make me glad I was never her student... ( )
1 vote AbigailAdams26 | Jun 28, 2013 |
งานชิ้นนี้นับว่าเป็นงานชิ้นสำคัญที่มีการอ้างอิงถึงมากที่สุดเล่มหนึ่งในวรรณกรรมพรมแดนศึกษาในศตวรรษที่ 20 นี้เลยก็ว่าได้ จุดสำคัญที่สุดของงานชิ้นนี้เห็นจะเป็นการนำลักษณะทางกายภาพของ “ความเป็นพื้นที่ชายแดน” มาเปรียบเปรยกับพรมแดนที่ถูกสร้างขึ้นบนพื้นที่ทางสังคม และพื้นที่ทางความคิดของปัจเจกชนและกลุ่มคนในหลายรูปแบบด้วยกัน Anzaldúa ชี้ให้เห็นว่า แม้ว่างานชิ้นนี้ของเธอซึ่งใช้กรณีศึกษาจากพื้นที่ชายแดนทางกายภาพ ที่เส้นเขตแดนแบ่งกั้นมลรัฐเท็กซัสทางตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกาออกจากประเทศเม็กซิโก มาเป็นตัวอย่างในการเสนอภาพของพื้นที่พรมแดนแห่งหนึ่ง แต่กระนั้น บนพื้นที่ทางกายภาพแห่งนี้เอง ที่เราสามารถมองเห็นการเกิดขึ้นของพื้นที่ของพรมแดนทางสังคมและความคิดในรูปแบบต่างๆ ที่แสดงออกมา ผ่านวิถีปฏิบัติในเรื่องเชื้อชาติ ลักษณะทางกายภาพและชีวภาพของบุคคล ระบบความเชื่อ เพศสภาวะ ชนชั้นทางสังคม และจิตสำนึกของผู้คนที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งแน่นอนว่าพรมแดนทางสังคม พรมแดนของชีวิต และพรมแดนทางความคิดเหล่านี้ ไม่เพียงจำกัดอยู่บนพื้นที่พรมแดนสหรัฐ-เม็กซิโกที่ Anzaldúa ยกมาศึกษาและชี้ให้เห็นเท่านั้น หากแต่พรมแดนอุปมาอุปไมย (borderland metaphors) ดังกล่าว เป็นพรมแดนที่เกิดขึ้นได้ในทั่วทุกแห่งของโลก ที่วัฒนธรรมของผู้คนที่แตกต่างกันมาปะทะประสานกัน หรือในที่ที่มีคนหลากหลายเชื้อชาติมาอาศัยอยู่ร่วมกัน รวมไปถึงในสังคมที่มีระดับทางสังคมของผู้คนที่แตกต่างกัน การก่อตัวขึ้นของพรมแดนทางสังคมและความคิดจึงเป็นเสมือนพรมแดนทางกายภาพที่กั้นขวาง แบ่งแยก หรือทำหน้าที่ในการสร้างความเข้าใจและความสับสน ต่อตัวตนและต่อคนอื่นไปได้ต่างๆ นานา และรวมไปถึงเป็นพื้นที่ซึ่งผู้ที่พยายามจะก้าวข้ามเส้นแบ่งดังกล่าว อาจจะต้องเผชิญกับวิบากกรรมสารพัด ไม่ว่าจะเป็นการถูกประณามหยามเหยียด ความเกลียดชัง การถูกกดขี่เอาเปรียบ และการค่อยสูญเสียอัตลักษณ์ และความภูมิใจในความเป็นตนเองไปในที่สุด ซึ่งในท้ายที่สุดแล้ว พื้นที่ชายแดนทางกายภาพดังกล่าวจึงเป็นเสมือนอาณาบริเวณพิเศษ ที่เอื้อให้พรมแดนทางสังคม ชีวิต และความคิดต่างๆ ดำรงอยู่หรือแสดงอำนาจกีดขวางแบ่งแยกได้มากยิ่งขึ้นไป แต่กระนั้น ผู้คนที่ดำรงชีพอยู่ท่ามกลางสภาวการณ์ของความคับข้อง บีบคั้น ดิ้นรน และแสวงหา ก็มักจะสถาปนาตัวตนและจิตสำนึกของตนเองและของกลุ่มขึ้นมาใหม่ ซึ่งมีลักษณะตอบโต้ ประสาน และปรับเปลี่ยนไปได้หลายรูปแบบไม่ตายตัว เป็นลักษณะของการอดทนอดกลั้น การดำรงอยู่ การปรับเปลี่ยน และการก่อร่างสร้างตัวของอัตลักษณ์แบบใหม่ในสภาวะของความไม่จีรังยั่งยืน (tolerance for ambiguity) ที่พรมแดนทางสังคมสร้างขึ้น จนก่อกำเนิดเป็นจิตสำนึกแบบใหม่ข้ามพรมแดน หรือที่ Anzaldúa เรียกว่า “la conciencia de la mestiza” หรือ “towards a new consciousness” นั่นเอง ข้อเสนอหลักที่สำคัญอันหนึ่งในการเสนอแนวคิดของอัตลักษณ์และจิตสำนึกแบบ “new mestiza” ก็คือ ความพยายามที่จะข้ามพ้นวาทกรรมตะวันตกที่มองแบบแยกขั้วตรงข้าม ไม่ว่าจะเป็น การแบ่งเขาแบ่งเรา การแบ่งเส้นพรมแดน การระบุความเป็นชายหรือหญิง ความเป็นคนผิวขาวและคนผิวสี โดยการเสนอภาพการแสดงออกถึงอัตลักษณ์ใหม่ที่ปัจเจกสามารถตระหนักรู้ถึงสภาวการณ์ของความขัดแย้ง และการหลอมรวมของพหุอัตลักษณ์ที่ก่อเกิดขึ้นในตัวเอง ทั้งยังหลุดพ้นและตอบโต้กับกรอบขั้วตรงข้ามในการมองตนเองและคนอื่น Anzaldúa ได้พยายามอธิบายลักษณะของจิตสำนึกใหม่ดังกล่าว ผ่านทางการเสนอคำที่แสดงออกถึงสภาวะแบบใหม่ เช่น “hieros gamos” และ “mestizaje” เป็นต้น

งาน Borderlands/La Frontera ของ Anzaldúa นี้ใช้วิธีการนำเสนอที่แปลกไปจากงานเขียนอื่นๆ นั่นคือไม่เพียงแต่เป็นงานที่ผสมผสานงานเขียนเชิงวิชาการเข้ากับบทกวี บันทึกความทรงจำ งานประวัติศาสตร์ และการนำเสนอแบบชาติพันธุ์วรรณาเท่านั้น แต่ยิ่งไปกว่านั้น งานชิ้นนี้ยังเลือกที่จะสื่อสารผ่านวิธีการเขียนที่ผสมผเส ใช้ภาษาสลับไปสลับมาระหว่างภาษาอังกฤษ ภาษาสเปน หรือใช้คำศัพท์บางคำจากภาษาพูดของคนเม็กซิกันตอนเหนือ หรือภาษาถิ่นที่ใช้กันเฉพาะกลุ่มในบรรดาคนเม็กซิกันในเท็กซัส และรวมไปจนถึงภาษา Nahuatl ซึ่งพูดกันในกลุ่มคนตอนกลางของเม็กซิโกมานำเสนอคละเคล้ากันไปในเนื้อความ การเขียนปนเปกันไปโดยใช้ภาษาที่หลากหลายดังกล่าวเป็นความจงใจของ Anzaldúa เอง ที่ต้องการสื่อให้เห็นถึงรูปแบบการสื่อสารบนพื้นที่พรมแดน ซึ่งไม่มีการยึดติดตายตัว หากแต่มีการปรับใช้และผสมผสานความหลากหลาย ไม่เพียงแต่เฉพาะภาษาที่ใช้สื่อสารเท่านั้น หากแต่รวมไปถึงระบบทางสังคมวัฒนธรรมอื่นๆ ด้วย งานชิ้นนี้จึงเป็นงานที่มีมุมมองทางสังคมมากมาย ซึ่งน่าสนใจนำมาอภิปรายต่อหรือปรับมาใช้ในการศึกษาพื้นที่ชายแดนในที่อื่นๆได้ ด้วยความที่ตัวผู้เขียนเป็นหญิงผิวสี (colored) เชื้อสายเม็กซิกัน-อเมริกัน (Chicano) ที่อาศัยอยู่ในพื้นถิ่นของคนเท็กซัส (tejana - Texan) ในอเมริกา และเป็นเลสเบี้ยนที่มีแนวคิดสตรีนิยม (lesbian feminist) ทำให้งานชิ้นนี้เป็นงานที่สะท้อนภาพประสบการณ์ของผู้เขียน และผู้คนที่เธอพบเห็นในการก้าวข้ามพรมแดนทางสังคมในหลายๆ รูปแบบ Borderlands/La Frontera เป็นตัวอย่างของงานเขียนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่พรมแดน ที่เสนอมุมมองของความเป็นชายขอบที่น่าสนใจ ที่ไม่เพียงแต่นักมานุษยวิทยาชายแดนยุคหลังๆ นำมากล่าวถึงเท่านั้น หากแต่นักวิชาการสายอื่นๆ เช่น สตรีนิยม ชาติพันธุ์ศึกษา เพศที่สามศึกษา วรรณกรรมวิจารณ์ กลุ่มเคลื่อนไหวทางสังคมแบบใหม่ ประเทศโลกที่สาม และลาตินศึกษา รวมไปถึงกลุ่มที่ศึกษาชนชั้นล่าง (subaltern studies) ก็ต่างให้ความสนใจในการนำมาเป็นแนวทางหนึ่ง ในการทำความเข้าใจกรณีศึกษาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับคนชายขอบและความเป็นชายขอบ และนั่นเอง ทำให้ Borderlands/La Frontera เป็นงานชิ้นสำคัญและมีบทบาทต่อการข้ามพรมแดนทางความรู้ทางสังคมศาสตร์โดยเฉพาะพรมแดนศึกษาต่อมา ( )
  jakkrits | Sep 6, 2008 |
Showing 1-5 of 7 (next | show all)
no reviews | add a review
You must log in to edit Common Knowledge data.
For more help see the Common Knowledge help page.
Canonical title
Original title
Alternative titles
Original publication date
People/Characters
Important places
Important events
Related movies
Epigraph
Dedication
This book is dedicated a todos mexicanos on both sides of the border.
First words
Preface: The actual physical borderland that I'm dealing with in this book is the Texas-U.S. Southwest/Mexican border.
Quotations
Last words
Disambiguation notice
Publisher's editors
Blurbers
Original language
Canonical DDC/MDS
Canonical LCC

References to this work on external resources.

Wikipedia in English (4)

"Rooted in Gloria Anzaldúa's experience as a Chicana, a lesbian, an activist, and a writer, the groundbreaking essays and poems in this volume profoundly challenged how we think about identity. Borderlands/La Frontera remapped our understanding of what a "border" is, seeing it not as a simple divide between here and there, us and them, but as a psychic, social, and cultural terrain that we inhabit, and that inhabits all of us."

No library descriptions found.

Book description
Haiku summary

Current Discussions

None

Popular covers

Quick Links

Rating

Average: (4.1)
0.5
1 4
1.5
2 8
2.5
3 25
3.5 5
4 44
4.5 7
5 68

Is this you?

Become a LibraryThing Author.

 

About | Contact | Privacy/Terms | Help/FAQs | Blog | Store | APIs | TinyCat | Legacy Libraries | Early Reviewers | Common Knowledge | 202,651,974 books! | Top bar: Always visible